นิติบุคคลบริจาคทำบุญ ใช้ประโยชน์ทางภาษีได้ หรือต้องเสียภาษีกันแน่

  • 📰 ktnewsonline
  • ⏱ Reading Time:
  • 61 sec. here
  • 9 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 49%
  • Publisher: 63%

ลดหย่อนภาษี ข่าว

เสียภาษี,ยื่นภาษี,ภาษีนิติบุคคล

เปิดกรณีศึกษา นิติบุคคลนำค่าใช้จ่ายจากการบริจาคมาลดหย่อนภาษี หรือหักเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อลดภาระภาษีที่ต้องเสียได้ แต่ลักษณะใดบ้างที่ใช้ประโยชน์ทางภาษีได้ หรือลักษณะไหนต้องเสียภาษี

กรมสรรพากรมีมาตรการช่วยเหลือผู้มีรายได้ โดยให้สามารถนำค่าใช้จ่ายจากการบริจาคมา ลดหย่อนภาษี หรือหักเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อลดภาระภาษีที่ต้องเสียได้ แต่การบริจาคนั้นมีหลายวิธี เช่น บริจาคเป็นเงิน ทรัพย์สิน สิ่งของ และมีที่มาหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการซื้อไปบริจาค หรือนำสินค้าของบริษัทไปบริจาค

โดยที่มาของสิ่งของบริจาคหรือจะบริจาคเป็นเงินก็ตาม หลายกรณีมีทั้งนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษีได้และไม่ได้ รวมถึงบางกรณีต้องเสียภาษีด้วย ซึ่งวันนี้เรามีกรณีศึกษาที่มาของสิ่งของ หรือเงินบริจาคลักษณะใดใช้ประโยชน์ทางภาษีได้ หรือลักษณะไหนต้องเสียภาษี ไปติดตามกันเลยที่อยู่ในเงื่อนไขกฎหมายกำหนด ว่าสามารถนำมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ บริษัทจะสามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายได้ถึง 2 เท่าของจำนวนเงินหรือทรัพย์สินที่บริจาค

โดยจะต้องทำการบริจาคผ่านระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมสรรพากรให้แก่มูลนิธิ 3 แห่ง ซึ่งประกอบด้วย มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และมูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และจะได้ยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการโอนทรัพย์สินหรือการขายสินค้า หรือสำหรับการกระทำตราสารอันเนื่องมากจากการบริจาคให้แก่มูลนิธิดังกล่าว ที่ได้กระทำตั้งแต่วันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567

ทั้งนี้ การบริจาคเงินให้มูลนิธิโดยผ่านระบบ e-Donation สามารถหักเป็นรายจ่ายได้ 2 เท่า โดยที่นิติบุคคลไม่ต้องเก็บหลักฐานการบริจาคไว้เลย เนื่องจากเป็นระบบบริจาคเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่กรมสรรพกากรใช้รองรับข้อมูลการรับบริจาคของหน่วยงานต่างๆ อยู่แล้ว

เสียภาษี ยื่นภาษี ภาษีนิติบุคคล วางแผนภาษี ภาษีเรื่องง่าย ภาษีเรื่องง่าย By Inflow Accounting

 

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ ความคิดเห็นของคุณจะถูกเผยแพร่หลังจากได้รับการตรวจสอบแล้ว
เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

 /  🏆 24. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

เทวิกา จิวเวลรี่แก้เกมทำเครื่องประดับใส่ได้ทุกวันปั๊มยอดขายออนไลน์เปิดกรณีศึกษา เทวิกา จิวเวลรี่ ปลด Pain Point แก้เกมธุรกิจ ทำเครื่องประดับให้เป็นแฟชั่นสวมใส่ได้ทุกวัน เพิ่มมูลค่าสินค้าดันยอดขายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์
แหล่ง: PostToday - 🏆 50. / 51 อ่านเพิ่มเติม »

บริษัทซื้อขายที่ดิน-โอนกรรมสิทธิ์แยกตามผู้ถือหุ้นได้ไหม เสียภาษีอย่างไรเปิดกรณีศึกษา! บริษัทซื้อขายที่ดิน-โอนกรรมสิทธิ์แยกตามจำนวนผู้ถือหุ้นได้หรือไม่ ต้องเสียภาษีอย่างไร ชวนทำความเข้าใจการซื้อขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
แหล่ง: ktnewsonline - 🏆 24. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ยกฎีกาเป็นกรณีศึกษา! รถหายในห้าง แม้ไม่มีบัตรจอด ก็ชนะคดีได้ ขอแค่ทำตามขั้นตอนนี้.. | เดลินิวส์เปิดกรณีศึกษา! ถ้ารถหายในห้างต้องทำยังไง ล่าสุดมีฎีกาชนะคดีแล้ว ขอแค่ทำตามขั้นตอนดังนี้ เดลินิวส์ รถหาย ลานจอดรถ ห้าง
แหล่ง: DailynewsTwit - 🏆 63. / 51 อ่านเพิ่มเติม »

เปิดกรณีศึกษา รถหายในห้างทำยังไง ล่าสุดมีฎีกาชนะคดีแล้ว ขอแค่ทำตามขั้นตอนนี้รถหายในห้างทำยังไง ล่าสุดมีฎีกาชนะคดีแล้ว สบายใจได้เลย ขอแค่ทำตามขั้นตอนดังนี้
แหล่ง: kapookdotcom - 🏆 19. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ส่องตลาด 'กัญชง' ประเทศชั้นนำ ไทยพร้อมหรือไม่ กับการตีตลาด CBD“ไทยลีฟ” เปิดกรณีศึกษา “ตลาดกัญชงกลุ่มประเทศชั้นนำ” สู่การนับถอยหลังความพร้อมของไทย ชาติแรกในภูมิภาคกับการตีตลาด CBD และสิ่งที่ต้องตระหนักถึงข้อควรระวัง หลังจากผลิตภัณฑ์กัญชงไทย ออกสู่ตลาดอย่างกว้างขวาง กรุงเทพธุรกิจ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ รีบเร่งทำการผลิตด้วยการสร้างโรงงานกิกะแฟคตอรีทันทีทันใด
แหล่ง: ktnewsonline - 🏆 24. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

“ไทยลีฟ” เปิดกรณีศึกษาอเมริกา-ยุโรป ตัวอย่างไทยลุย “เสรีกัญชง”“ไทยลีฟฯ” เปิดกรณีศึกษา ตลาดกัญชงกลุ่มประเทศชั้นนำ 'อเมริกา-ยุโรป' ชี้ภาครัฐตัวแปรหลักต้องชัดเจนตรงไหนทำได้-ไม่ได้ ชี้ไทยชาติแรกในอาเซียนเปิดเสรีตลาดกัญชง สร้างโอกาสใหม่ทางเศรษฐกิจและธุรกิจ นับถอยหลังเปิด รง.ผลิตผลิตภัณฑ์กัญชงทางการแพทย์และสุขภาพที่นครนายก
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »