ครูไพลิน : ศักดินาเปรียบเทียบ (3)

  • 📰 siamrath_online
  • ⏱ Reading Time:
  • 64 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 29%
  • Publisher: 63%

ประเทศไทย หัวข้อข่าว ข่าว

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว

ลีลาชีวิต/ทวี สุรฤทธิกุล คนบางคนยอมรับชะตากรรมของตนโดยดี แต่หลายคนก็ต่อสู้ดิ้นรนและพยายามเปลี่ยนแปลงความทุกขเวทนานั้น ไพลินเคยคิดว่าการมีชีวิตอยู่คือการ “ชดใช้กรรม” ดังนั้นแม้จะเจอกับความยากลำบากแสนสาหัสอย่างไร เธอก็ไม่เคยบ่นและก้มหน้าก้มตารับเอาความทุกข์ทรมานเหล่านั้นเข้ามา นั่นคือชีวิตตั้งแต่ที่เธอเริ่มจำความได้...

ไพลินเคยคิดว่าการมีชีวิตอยู่คือการ “ชดใช้กรรม” ดังนั้นแม้จะเจอกับความยากลำบากแสนสาหัสอย่างไร เธอก็ไม่เคยบ่นและก้มหน้าก้มตารับเอาความทุกข์ทรมานเหล่านั้นเข้ามา นั่นคือชีวิตตั้งแต่ที่เธอเริ่มจำความได้ จนถึงเมื่อเธอต้องฝ่าฟันจนได้เรียนหนังสือมาจนจบชั้นมัธยมนั้น แต่มันช่างตรงกันข้ามกับชีวิตในวิทยาลัย ที่เธอพบว่าแท้จริงนั้นมนุษย์มีอิสรเสรี ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความพยายาม และแข่งขันเอาชนะ ซึ่งเธอคิดว่าเธอก็มีสิ่งเหล่านี้เหมือนกับคนอื่น ๆ...

เธอคิดว่าเธอเริ่มจะเป็นผู้ใหญ่ เพราะผู้ใหญ่ที่เธอรู้จัก ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ ครูอาจารย์ และคนอื่น ๆ มักจะมองสิ่งต่าง ๆ และผู้คนรอบข้างด้วยความห่วงใย บ้างก็ตำหนิพร่ำบ่น บ้างก็แนะนำติติง อย่างที่เมื่อเธอเป็นเด็ก ๆ ก็เรียกอาการแบบนี้ว่า “จู้จี้จุกจิก” ที่เริ่มจากความรำคาญในปัญหาต่าง ๆ และอยากจะเอาชนะหรือแก้ไขปัญหานั้น ซึ่งในตอนที่เธอเรียนในวิทยาลัย อาการดังกล่าวก็เกิดอยู่เป็นประจำ และเพิ่มระดับอาการที่รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ...

ในปีสุดท้าย วิทยาลัยให้นักศึกษาเลือกกิจกรรมที่จะไปออกสอน หรือที่เรียกว่า “การฝึกสอน” ไพลินเลือกไปสอนที่อำเภอจอมทอง โรงเรียนที่เธอไปสอนอยู่เชิงภูเขาบนเส้นทางที่จะไปดอยอินทนนท์ มีนักเรียนที่เป็นชาวเขามาเรียนด้วยหลายสิบคนในชั้นเรียนต่าง ๆ ซึ่งในชั้นที่เธอสอนก็มีอยู่เกือบสิบคน โดยนักเรียนที่เป็นชาวเขาจะมีชีวิตและการแต่งกายดูลำบากยากจนกว่านักเรียนในพื้นที่อย่างเห็นได้ชัด เธอมักจะยกตัวอย่างชีวิตของตัวเธอเองให้เป็นแรงบันดาลใจให้นักเรียนชาวเขาว่า เธอก็มาจากพื้นที่ทุรกันดารมาก ๆ เหมือนกัน...

ไพลินตอนนี้ที่ใคร ๆ ก็เรียกว่า “ครูไพลิน” ทำงานอย่างมีความสุขมาก ไม่เพียงแต่จะทุ่มเทการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ที่เธอร่ำเรียนมาเป็นหลักแล้ว เธอยังเสริมใส่เนื้อหาทางด้านสังคมวิทยาเข้าในวิชาวิทยาศาสตร์ที่เธอสอนนั้นด้วย โดยเฉพาะเรื่องความเสมอภาคเท่าเทียม และที่เป็นกระแสใหม่ของสังคมโลกที่มีพูดกันอย่างแพร่หลายไปทั่วโลกในช่วงก่อนจะสิ้นศตวรรษ ค.ศ.

 

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ ความคิดเห็นของคุณจะถูกเผยแพร่หลังจากได้รับการตรวจสอบแล้ว
เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

 /  🏆 15. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

ครูไพลิน : ศักดินาเปรียบเทียบ (2)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล โดยธรรมชาติมนุษย์อาจจะไม่เท่าเทียมกัน แต่ในทางสังคมมนุษย์ควรจะเท่าเทียมกัน ไพลินก็เหมือนกับคนไทยจำนวนมาก ที่ยอมรับความไม่เท่าเทียมกัน เช่น ความรวย ความจน ความทุกข์ และความสุข เป็นต้น โดยมองว่าเป็นเรื่องของ “เวรกรรม” และ “โชคลาภวาสนา” อันได้มาจากบุญกุศลที่ทำมาตั้งแต่ชาติก่อน ๆ...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

การเมืองเรื่องอารมณ์ (1)ทวี สุรฤทธิกุล การเมืองเป็นเรื่องของการใช้อำนาจ “อำนาจ” เป็นเรื่องของ “อารมณ์” โดยแท้ ซึ่งตรงข้ามกับ “เหตุผล” ตำรารัฐศาสตร์ของโลกมักจะกล่าวถึงการกำเนิดของวิชาการเรื่องนี้ว่าเกิดในประเทศกรีก เมื่อประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว โดยมี “โสกราตีส” เป็น “บิดา” คือผู้สถาปนาหรือผู้เริ่มสั่งสอนเกี่ยวกับการแสวงหาความรู้ ที่เรียกว่าวิชา “ปรัชญา” รวมถึงเรื่อง...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

พรรคการเมืองมีไว้ทำไม ? (จบ)ทวี สุรฤทธิกุล “พรรคการเมืองแบบประชาธิปไตยต้องล้มลุกคลุกคลาน แต่ถ้าอิงเผด็จการจะอยู่รอดได้นาน” นั่นคือ “ดีลลับ” ที่เกิดขึ้นหลังการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 ที่มีคนพบว่านายทหารในกลุ่มอำนาจเก่าบางคนได้ไปพบกับผู้นำของฝ่ายประชาธิปไตยที่เกาะลังกาวี ในทะเลอันดามัน ใกล้ชายแดนไทย อันนำมาสู่การจัดตั้งรัฐบาลที่มีนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 19...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ครูไพลิน : ศักดินาเปรียบเทียบ (2)ลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล โดยธรรมชาติมนุษย์อาจจะไม่เท่าเทียมกัน แต่ในทางสังคมมนุษย์ควรจะเท่าเทียมกัน ไพลินก็เหมือนกับคนไทยจำนวนมาก ที่ยอมรับความไม่เท่าเทียมกัน เช่น ความรวย ความจน ความทุกข์ และความสุข เป็นต้น โดยมองว่าเป็นเรื่องของ “เวรกรรม” และ “โชคลาภวาสนา” อันได้มาจากบุญกุศลที่ทำมาตั้งแต่ชาติก่อน ๆ...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

พรรคการเมืองมีไว้ทำไม? (1)ทวี สุรฤทธิกุล ผู้เขียนขอยืมคำของ อดัม สมิท ที่บอกว่า “รัฐและการปกครองเป็นสิ่งชั่วร้ายแต่จำเป็นต้องมี” มาแปลงเป็นว่า “พรรคการเมืองเป็นสิ่งชั่วร้ายและจำเป็นต้องมี” เพราะพรรคการเมืองเป็นส่วนหนึ่งของรัฐและการปกครอง ก่อนที่จะมีพรรคการเมืองมาเป็นกลไกหนึ่งในการปกครองประเทศ บรรดารัฐหรือประเทศต่าง ๆ ในโลกยุคโบราณจะมีการปกครองแบบ “คนคนเดียว” แทบทั้งนั้น...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ลุงคำปัน : พระเจ้า ผีสาง และเทวดาลีลาชีวิต / ทวี สุรฤทธิกุล นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าโลกนี้ไม่มี “สิ่งลี้ลับ” มีแต่เพียงสิ่งที่ยังไม่สามารถ “ไขความลับ” ลุงคำปันเป็นชาวเขาเผ่าม้ง หรือที่คนทั่วไปเรียกว่า “แม้ว” (แต่คนม้งเองไม่ชอบให้เรียกว่าแม้ว เพราะเหมือนถูกล้อเลียนว่าเป็นแมว อย่างที่คนพื้นถิ่นบางแห่งก็เรียกม้งนี้ว่า “เหมียว” : ข้อมูลจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร)...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »