คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. แนะรัฐปรับอัตราบำนาญพื้นฐานให้สอดคล้องกับค่าครองชีพ

  • 📰 PostToday
  • ⏱ Reading Time:
  • 63 sec. here
  • 9 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 50%
  • Publisher: 51%

บำนาญ ข่าว

บำนาญประชาชน,ค่าครองชีพ,เงินเฟ้อ

ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม (CRISP) คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แนะสร้างระบบสวัสดิการเพื่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ลดความเหลื่อมล้ำ ปรับอัตราบำนาญพื้นฐานให้สอดคล้องกับความยากจน ค่าครองชีพ และเงินเฟ้อ

ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แนะสร้างระบบสวัสดิการเพื่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ลดความเหลื่อมล้ำ ปรับอัตรา บำนาญ พื้นฐานให้สอดคล้องกับความยากจน ค่าครองชีพ และ เงินเฟ้อ

อย่างไรก็ตาม ระดับอัตราบำนาญพื้นฐานถ้วนหน้า 3,000 บาท/เดือน ซึ่งกำหนดจากเส้นความยากจนและเรียกร้องกันมายาวนานหลายปี โดยเฉพาะจากภาคประชาชน และ เป็นนโยบายหาเสียงของหลายพรรคการเมือง ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จเป็นจริง ทั้งที่ อัตราเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแบบขั้นบันไดในปัจจุบัน เฉลี่ยได้รับคนละประมาณ 650 บาท/เดือน ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ มีระดับต่ำกว่าเส้นความยากจนอย่างมาก และ ไม่มีการปรับยาวนานมากกว่า 10 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ยิ่งไปกว่านั้น หากจะอ้างว่า ไม่ได้จ่ายภาษี จึงไม่ควรได้รับ ก็ควรจะต้องยึดหลักพื้นฐานทางภาษีที่สำคัญประการหนึ่ง คือ “ความเป็นธรรมในแนวดิ่ง” หมายความว่า กลุ่มที่มีโอกาสและทรัพยากรมากกว่า ควรจะเป็นผู้เสียภาษีมากกว่า อีกทั้งทุกคนในสังคมได้ร่วมจ่ายภาษีจากการบริโภค เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีการค้า ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีศุลกากร ภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องใช้ไฟฟ้า ภาษีรถยนต์ ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีสุราและยาสูบ เป็นต้น...

แหล่งรายได้สำหรับระบบบำนาญพื้นฐานแบบความคุ้มครองทางสังคม ได้มีข้อเสนอโดยนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำและองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ สามารถประมวลสรุปได้ ดังนี้ 3.พัฒนาระบบการออม จะต้องบังคับหรือจูงใจให้ “ทุกคน” ในวัยทำงานต้องอยู่ในระบบ และ มีระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ที่สามารถออมเงินได้ ต้องร่วมรับผิดชอบสะสมเงินในวันทำงานเพื่อยามชราภาพ โดยรัฐบาลร่วมจ่ายสมทบการออม

บำนาญประชาชน ค่าครองชีพ เงินเฟ้อ ลดความเหลื่อมล้ำ ผู้สูงอายุ สังคมสูงวัย

 

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ ความคิดเห็นของคุณจะถูกเผยแพร่หลังจากได้รับการตรวจสอบแล้ว
เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

 /  🏆 50. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

คณะเศรษฐศาสตร์ ฉลองครบรอบ 50 ปี นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ร่วมถก “อนาคตเศรษฐกิจไทย...”คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขอเชิญร่วมงานสัมมนาวิชาการ ครบรอบ 50 ปี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หัวข้อ “อนาคตเศรษฐกิจไทย : ยืดหยุ่นและยั่งยืน” นำปาฐกถาพิเศษ “เศรษฐกิจไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย ดร.เกียรติพงศ์ อริยปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสประจำประเทศไทย ณ ธนาคารโลก ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 08.30 - 16.30 น.
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

การเงินเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพการเงินเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย...รศ.ดร.ขนิษฐา แต้มบุญเลิศชัย คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3986
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

อาจารย์ มธ. แนะรัฐเร่งประเมินความเสี่ยงกากแคดเมียม เรียกร้องให้สื่อสาร ‘ตรงไปตรงมา’อาจารย์ มธ. แนะรัฐเร่งประเมินความเสี่ยงกากแคดเมียม เรียกร้องให้สื่อสาร ‘ตรงไปตรงมา’ - ปชช.
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

นักวิชาการ สวล.มธ.แนะรัฐเร่งประเมินความเสี่ยงกากแคดเมียม จี้สื่อสารตรงไปตรงมานักวิชาการ สวล.มธ.แนะรัฐเร่งประเมินความเสี่ยงกากแคดเมียม จี้สื่อสารตรงไปตรงมา
แหล่ง: MatichonOnline - 🏆 28. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

งานเข้า! 'หริรักษ์'ชี้คำให้สัมภาษณ์ของ'ทักษิณ'ปมถูกยัดข้อหา อาจเข้าข่ายแจ้งความเท็จรศ.หริรักษ์ สูตะบุตร อดีตรองอธิการบดีฝ่ายบริหารบุคคล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(มธ.) โพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัว Harirak Sutabutr ระบุข้อความว่า...
แหล่ง: siamrath_online - 🏆 15. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ทิศทางการปฏิรูประบบบำนาญเพื่อความยั่งยืนทิศทางการปฏิรูประบบบำนาญเพื่อความยั่งยืน : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯ ทัศนะ โดย... ดร.วรมาศ ลิมป์ธีระกุล คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3988
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »