การเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการส่งเสริมการต่อต้านคอร์รัปชัน

  • 📰 Thansettakij
  • ⏱ Reading Time:
  • 65 sec. here
  • 3 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 29%
  • Publisher: 63%

ประเทศไทย หัวข้อข่าว ข่าว

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว

การเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการส่งเสริมการต่อต้านคอร์รัปชัน : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย...ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,920 หน้า 5 วันที่ 7 - 9 กันยายน 2566

3 นโยบายนี้ เป็นมาตรการที่สัมพันธ์กับการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านคอร์รัปชันโดยตรง ซึ่งมีเยอะในเชิงปริมาณ ซึ่งการมีนโยบายจำนวนมาก ก็ไม่ใช่เรื่องเลวร้ายเสียทีเดียวในช่วงเริ่มต้น แต่เราสามารถเพิ่มคุณภาพได้ถ้าเทียบกับระดับสากล ตอนนี้ประเทศไทยอยู่ในระดับที่หนึ่งที่เรียกว่า Show คือ เป็นระดับของการแสดงให้เห็นว่ามีข้อมูล ซึ่งถ้าจะให้ดีขึ้นต้องพัฒนาเป็นระดับที่สองที่เรียกว่า Read ซึ่งหมายถึงแปลว่า ควรจะขยับจากการเปิดข้อมูลที่เป็น PDF ไปสู่การเปิดข้อมูลเป็นข้อมูลที่เครื่องอ่านออก เช่น ตาราง Excel...

ในระดับสากล การวัดคุณภาพของ Open Data ในขั้น Read คือ ต้องให้เครื่องอ่านได้ ส่วนในระดับ ที่สาม คือ Link แปลว่าต้องเชื่อมโยง ระหว่างหน่วยงานได้ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ความผิดปกติได้ ตอนนี้เราอยู่ในขั้นที่เปิดให้ร้องเรียนได้เท่านั้น ยังไม่ได้พัฒนาไปถึงขั้นของการ Track ข้อมูล ซึ่งหมายความว่า ประชาชนที่ร้องเรียนควรจะรู้ว่า สิ่งที่เขาร้องเรียนไปแล้ว ตอนนี้อยู่ที่ไหน เจ้าหน้าที่คนไหนเป็นคนรับผิดชอบ เป็นคนรับเรื่อง เป็นคนส่งต่อ และส่งต่อไปที่ไหนส่วนนโยบายที่เดิม เป็นการทำประชาพิจารณ์...

หน่วยงานที่รับเรื่องก็จะได้เครดิตในสายตาประชาชนของการทำงาน หน่วยงานที่รับการส่งต่อไปและมีหน้าที่และไม่ยอมทำ ก็จะถูกตั้งคำถามจากประชาชนเช่นกัน เพราะฉะนั้นขั้นที่สอง ของ Policy Engagement ก็คือสร้าง Digital Footprint ของนโยบายในการเสริมสร้างธรรมาภิบาล และต่อต้านคอร์รัปชัน คือ ขยายจาก Open Data ไปสู่การทำให้เครื่องมือ หรือ คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้และคือ การขยายจากการจัดประชุมที่มีบ่อยครั้ง ไปสู่การบันทึกในรูปแบบดิจิทัลและ Track การส่งต่อไปสู่หน่วยงานต่างๆ ได้ ถ้าเราทำ 3 อย่างนี้ ท่านจะเห็นได้ว่า...

รวมทั้งอาจจะลดปริมาณเครื่องมือ เพราะหลายเรื่องในหลายหน่วยงานทำร่วมกันก็ได้ Open Data DGE อาจจะทำเป็นหลัก Whistle Blowing ป.ป.ช. ป.ป.ท. อาจจะทำเป็นหลัก Policy Engagement ก็หน่วยงานระดับกระทรวงอาจจะทำเป็นหลัก ก็จะลดปริมาณเครื่องมือ ลดความสับสน เห็นผลลัพธ์ได้ชัดเจนขึ้น ด้วยการเพิ่มคุณภาพ

 

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ ความคิดเห็นของคุณจะถูกเผยแพร่หลังจากได้รับการตรวจสอบแล้ว
เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

 /  🏆 23. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

'โรงรับจำนำของรัฐ' ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ... ฟ้องคดีที่ศาลใด?'โรงรับจำนำของรัฐ' ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ... ฟ้องคดีที่ศาลใด? คอลัมน์อุทาหรณ์จากคดีปกครอง โดย นายปกครอง หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,919 หน้า 5 วันที่ 3 - 6 กันยายน 2566
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนไทย กลุ่มอายุ และรุ่นไหน สูบบุหรี่มากที่สุดพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนไทย กลุ่มอายุ และรุ่นไหน สูบบุหรี่มากที่สุด : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย ผศ.ดร.สวรัย บุณยมานนท์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,918 หน้า 5 วันที่ 31 สิงหาคม - 2 กันยายน 2566
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทย : คอลัมน์บทความ โดย ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ SCB EIC ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,917 หน้า 5 วันที่ 27 - 30 สิงหาคม 2566
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

ระเบิดเวลาประชานิยมนโยบายทางสังคม นั้น เป็นกลไกที่สามารถเข้ามาช่วยลดความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และเพิ่มความเท่าเทียมได้เป็นอย่างดี แต่ถึงอย่างไรก็ตามถ้ามากจนเกินไปจนกลายเป็น “นโยบายประชานิยม” ย่อมจะส่งผลร้ายเช่นเดียวกัน
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

การต่อสู้กับเงินเฟ้อและภาวะเศรษฐกิจถดถอยภาวะ เงินเฟ้อ คือ ภาวะที่ราคาสินค้าและบริการทั่วไปเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย “อย่างต่อเนื่อง” ในที่นี้หมายถึงอย่างต่อเนื่องเป็นปี หากราคาของสินค้าและบริการสูงขึ้นเพียงครั้งเดียวและไม่ต่อเนื่อง ไม่จัดว่าเป็นภาวะเงินเฟ้อ
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »

การช่วยเหลือสังคมของคนไทย ทำไม อย่างไร ใครการช่วยเหลือสังคมของคนไทย ทำไม อย่างไร ใคร : คอลัมน์เศรษฐเสวนา จุฬาฯทัศนะ โดย รศ.ดร.นพพล วิทย์วรพงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับ 3,906 หน้า 5 วันที่ 20 - 22 กรกฎาคม 2566
แหล่ง: Thansettakij - 🏆 23. / 63 อ่านเพิ่มเติม »