การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหลังการสละราชสมบัติของรัชกาลที่เจ็ด (๕๙): การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

  • 📰 thaipost
  • ⏱ Reading Time:
  • 26 sec. here
  • 2 min. at publisher
  • 📊 Quality Score:
  • News: 14%
  • Publisher: 51%

ประเทศไทย หัวข้อข่าว ข่าว

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด,ประเทศไทย หัวข้อข่าว

หลังจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2477 ได้ลงมติเห็นสมควรให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลเป็นพระมหากษัตริย์ด้วยเสียง

127 ต่อ 2 เสียง ต่อจากนั้น ได้มีการประชุมเกี่ยวกับการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เพราะพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่หรือรัชกาลที่แปดยังทรงเป็นยุวกษัตริย์มีพระชันษาเพียง 10 ชันษา อีกทั้งยังประทับอยู่นอกราชอาณาจักรด้วย

ผู้ทำการแทนประธานสภาฯ กล่าวว่า “ต่อไปนี้ จะได้ดำเนินการตามาตรา ๑๐ แห่งรัฐธรรมนูญ มีข้อความว่า ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้ จะได้ทรงตั้งบุคคลหนึ่งหรือหลายคนเป็นคณะขึ้นให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ด้วยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร ถ้าหากพระมหากษัตริย์มิได้ทรงตั้งหรือไม่สามารถจะทรงตั้งได้ไซร้ ท่านให้สภาผู้แทนราษฎรปรึกษากันตั้งขึ้น และในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรยังมิได้ตั้งผู้ใด ท่านให้คณะรัฐมนตรีกระทำหน้าที่นั้นไปชั่วคราว...

 

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ ความคิดเห็นของคุณจะถูกเผยแพร่หลังจากได้รับการตรวจสอบแล้ว
เราได้สรุปข่าวนี้มาให้อ่านอย่างรวดเร็ว หากสนใจข่าว สามารถอ่านฉบับเต็มได้ที่นี่ อ่านเพิ่มเติม:

 /  🏆 62. in TH

ประเทศไทย ข่าวล่าสุด, ประเทศไทย หัวข้อข่าว

Similar News:คุณยังสามารถอ่านข่าวที่คล้ายกันนี้ซึ่งเรารวบรวมจากแหล่งข่าวอื่น ๆ ได้

หยิงวัย 59 ปีแทบลมจับ มรดกก้อนสุดท้ายถูกแก็งค์คอลเซ็นเตอร์ หลอกจนหมด สูญเงิน 1.5 ล้านเรื่องเล่าเช้านี้
แหล่ง: MorningNewsTV3 - 🏆 1. / 68 อ่านเพิ่มเติม »

ส่องทำเนียบเสนาบดี 'กลาโหม' 4 พลเรือน 59 นายพลเปิดทำเนียบกลาโหม 'เสนาบดี' สู่ 'รมว.กลาโหม' ตั้งแต่ยุคแรก-ปัจจุบัน มีรายชื่อบันทึกอยู่ 63 คน มีทหารทั้ง และพลเรือน
แหล่ง: ThaiPBS - 🏆 52. / 51 อ่านเพิ่มเติม »

ศาลรธน.เสียงข้างมากตีตกพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้กม.อุ้มหาย ชี้ขัดรธน. : อินโฟเควสท์ศาลรัฐธรมนูญ มีมติเสียงข้างมากสั่งยกเลิกกฎหมายเลื่อนกำหนดบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 เนื่องจากขัดต่อรัฐธรรมนูญ “ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงข้างมาก (8 ต่อ 1) ซึ่งมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคสี่ วินิจฉัยว่า พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 พ.ศ.2566 กรณีไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 172 วรรคหนึ่ง และให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 พ.ศ.2566 ไม่มีผลใช้บังคับมาแต่ต้น (วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566) ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 173 วรรคสาม” คำสั่งศาลรัฐธรรมนูญ ระบุ กรณีดังกล่าวสืบเนื่องจาก ส.ส.จำนวน 99 คน ซึ่งเป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวน ส.ส.ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร เข้าชื่อเสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎรว่า พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 พ.ศ.2566 ตราขึ้นเพื่อขยายกำหนดเวลาการมีผลใช้บังคับของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ.2565 ใน 4 […]
แหล่ง: InfoQuestNews - 🏆 7. / 68 อ่านเพิ่มเติม »